https://lentera.uin-alauddin.ac.id/question/gratis-terlengkap/https://old-elearning.uad.ac.id/gampang-menang/https://fk.ilearn.unand.ac.id/demo/https://elearning.uika-bogor.ac.id/tanpa-potongan/https://uptdlkk.kaltimprov.go.id/img/product/https://e-learning.iainponorogo.ac.id/thai/https://organisasi.palembang.go.id/userfiles/images/https://ditkapel.dephub.go.id/petikemas/tests/https://pmb.universitaspertamina.ac.id/popup/hari-ini/https://jdih.komnasham.go.id/img/banner/https://file.disdikbud.kaltimprov.go.id:8443/user/https://lms.binawan.ac.id/terbaik/http://bendungan-kita.sda.pu.go.id/files/terbaik/https://disperkim.purwakartakab.go.id/storage/https://mpp.grobogan.go.id/media/legacy/https://spanel.samarindakota.go.id/js/builds/http://ti.lab.gunadarma.ac.id/jobe/system/https://satpolpp.ciamiskab.go.id/icon/https://pakbejo.jatengprov.go.id/assets/
OAR สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศสมาชิกอาเซียนสู่ความเชื่อมโยงกับห่วงโซ่คุณค่าโลก (Global Value Chain)

อัปเดตล่าสุดเมื่อ:2023-03-08

การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศสมาชิกอาเซียนสู่ความเชื่อมโยงกับห่วงโซ่คุณค่าโลก (Global Value Chain)

ผู้แต่ง : โสตถิธร มัลลิกะมาส

สำนักพิมพ์ : สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน)

ปีพิมพ์ : 2562

พิมพ์ครั้งที่:


ศึกษาสถานะและบทบาทของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ของไทยและประเทศสมาชิกอาเซียนต่อการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่คุณค่าโลก (GVCs) อธิบายแนวคิดของห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) และการประยุกต์ไปสู่ห่วงโซ่คุณค่าโลก (Global Value Chain) พิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต่อการเชื่อมโยงกับห่วงโซ่คุณค่าโลก (Global Value Chain) วิเคราะห์กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพเชิงลึก ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนและพลังงานแสงอาทิตย์ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ และอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ รวมถึงข้อเสนอแนะนโยบายส่งเสริมรัฐวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) กับห่วงโซ่คุณค่าโลก (GVCs)



ตรวจสอบสถานะทรัพยากรสารสนเทศในระบบ